ค่า k ของสปริงรถยนต์คือค่าความแข ็งของ ขดสปริงรถยนต์หรือคอลย์สปริ ง ที่ใช้ในระบบรองรับน้ำหนักร ถยนต์
สำหรับผู้ผลิตรถยนต์ เมื่อทำการออกแบบระบบรองรับ น้ำหนักรถยนต์ วิศวกรจะต้องกำหนดค่า k ของคอลย์สปริงให้เหมาะสมกับ การใช้งานและน้ำหนักของรถยน ต์ เพื่อให้ได้สมรรถนะการขับขี ่และยึดเกาะถนนที่ดี รวมถึงการทรงตัว และความนุ่มนวลในการขับขี่ โดยสอดคล้องกับการใช้งานจริง
รถยนต์ในแต่ละยี่ห้อจะมีค่า k ที่แตกต่างกันออกไป ถึงแม้ในรถบางรุ่นที่ใช้ตัว ถังเดียวกัน แต่ต้องดูว่ามีอะไรแตกต่างก ันบ้าง เช่น ขนาดของเครื่องยนต์ ตำแหน่งการจัดวางเครื่อง การออกแบบระบบขับเคลื่อน ระบบกันสะเทือน น้ำหนักรถยนต์รวมทั้งความสา มารถในการรับน้ำหนักบรรทุกข ณะใช้งาน
ค่า K ของสปริง (Spring Rate)คือค่าความแข็ง-อ่อนของสปริงที่จะยุบตัวตามสัดส่วนตามน้ำหนักที่กดทับ โดยมีหน่วยเป็น Kg/mm ,N/mm หรือ Lbs/in ( 1 Kg/mm = 9086 N/mm = 56 Lbs/in)
ตัวอย่างเช่น สปริงมีค่า K = 5 Kg/mm แสดงว่าสปริงตัวนี้ เมื่อมีน้ำหนัก 5 กิโลกรัมมากดทับ สปริงจะยุบตัวลง 1 มิลลิเมตร
เพราะฉะนั้น สปริงที่ค่า k มากจะยุบตัวหรือแข็งกว่าสปริงที่มีค่า k น้อย
ชนิดของสปริง
ชนิดของสปริง
1. Linear Spring คือสปริงที่มีระยะห่างระห่างขดเท่ากันตลอดทั้งวง เช่นแต่ละขดห่างกัน 20 ม.ม.ตลอดทั้งวง สปริงนี้จะมีค่า k เดียว
2. Step Spring คือสปริงที่มีระยะห่างระหว่างขดแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือมีทั้งขดถี่และห่างในวงเดียวกัน เช่นห่างกัน 15 และ 25 ม.ม.เท่ากับว่าสปริงนี้มีค่า k 2 ค่าในวงเดียวกัน เมื่อมีน้ำหนักมากดทับ ขดที่ถี่กว่าจะยุบตัวก่อน (ค่า k น้อย) จนเมื่อน้ำหนักมากขึ้นขดสปริงที่ห่าง(ค่า k มาก)จะมารับช่วงต่อเป็นการทำงานที่ต่อเนื่อง และประสานความนุ่มนวลขณะคลาน และมั่นคงในการขับขี่ขณะกดคันเร่งลึกๆ
3. Progressive Spring คือสปริงที่มีระยะห่างระหว่างขดไม่เท่ากันเลย จะมีระยะห่างระหว่างขดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ค่า k ของแต่ละขดจะไม่เท่ากัน สปริงนี้จะค่อยๆเพิ่มความแข็งขึ้น ไปจนถึงค่า k สูงสุด ขับช้าก็นิ่ม ยิ่งเร็วยิ่งแข็งขึ้นตามลำดับอย่างต่อเนื่อง
ค่า k ของสปริงแข็ง เหมาะสำหรับรถยนต์ที่ใช้ควา มเร็วสูง จะช่วยให้ยึดเกาะถนนทรงตัวด ี แต่หากใช้กับการใช้งานทั่วไ ปที่ความเร็วต่ำจะขาดความนุ ่มนวลไปบ้าง แต่ก็ขึ้นกับปัจจัยอื่นประก อบ
ค่า k ของสปริงอ่อน เหมาะสำหรับรถยนต์ที่ใช้งาน ในความเร็วต่ำๆ ซึ่งจะให้ความนุ่มนวลในการข ับขี่ แต่เมื่อใช้ความเร็วสูงๆ จะทำใหรถมีอาการโยนตัวหรือโ คลงได้
ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า หลายคนเมื่อซื้อรถยนต์ใหม่ก ็อยากที่จะไปตกแต่งระบบกันส ะเทือนใหม่ โดยใช้วิธีเปลี่ยนล้อ เพิ่มขนาดล้อ ดัดแปลงคอลย์สปริงด้วยการตั ดหรือเปลี่ยนใหม่ แม้กระทั่งยกชุดเปลี่ยนโช้ค อัพใหม่ทั้ง 4 ตัว ตามร้านประดับยนต์ทั่วไป
ดังนั้น หากผู้ใช้รถมีความประสงค์ที ่จะดัดแปลงระบบช่วงล่างให้แ ตกต่างจากโรงงานกำหนด ควรคำนึงถึงค่า k ว่าเหมาะสมกับการใช้งานจริง หรือไม่ หรือสอบถามผู้ที่ชำนาญก่อนต ัดสินใจ
หรือใช้ช่วงล่างที่ผลิตมาเฉ พาะสำหรับสเปครถรุ่นนั้นๆ
สำหรับผู้ผลิตรถยนต์ เมื่อทำการออกแบบระบบรองรับ
รถยนต์ในแต่ละยี่ห้อจะมีค่า
ค่า K ของสปริง (Spring Rate)คือค่าความแข็ง-อ่อนของสปริงที่จะยุบตัวตามสัดส่วนตามน้ำหนักที่กดทับ โดยมีหน่วยเป็น Kg/mm ,N/mm หรือ Lbs/in ( 1 Kg/mm = 9086 N/mm = 56 Lbs/in)
ตัวอย่างเช่น สปริงมีค่า K = 5 Kg/mm แสดงว่าสปริงตัวนี้ เมื่อมีน้ำหนัก 5 กิโลกรัมมากดทับ สปริงจะยุบตัวลง 1 มิลลิเมตร
เพราะฉะนั้น สปริงที่ค่า k มากจะยุบตัวหรือแข็งกว่าสปริงที่มีค่า k น้อย
ชนิดของสปริง
ชนิดของสปริง
1. Linear Spring คือสปริงที่มีระยะห่างระห่างขดเท่ากันตลอดทั้งวง เช่นแต่ละขดห่างกัน 20 ม.ม.ตลอดทั้งวง สปริงนี้จะมีค่า k เดียว
2. Step Spring คือสปริงที่มีระยะห่างระหว่างขดแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือมีทั้งขดถี่และห่างในวงเดียวกัน เช่นห่างกัน 15 และ 25 ม.ม.เท่ากับว่าสปริงนี้มีค่า k 2 ค่าในวงเดียวกัน เมื่อมีน้ำหนักมากดทับ ขดที่ถี่กว่าจะยุบตัวก่อน (ค่า k น้อย) จนเมื่อน้ำหนักมากขึ้นขดสปริงที่ห่าง(ค่า k มาก)จะมารับช่วงต่อเป็นการทำงานที่ต่อเนื่อง และประสานความนุ่มนวลขณะคลาน และมั่นคงในการขับขี่ขณะกดคันเร่งลึกๆ
3. Progressive Spring คือสปริงที่มีระยะห่างระหว่างขดไม่เท่ากันเลย จะมีระยะห่างระหว่างขดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ค่า k ของแต่ละขดจะไม่เท่ากัน สปริงนี้จะค่อยๆเพิ่มความแข็งขึ้น ไปจนถึงค่า k สูงสุด ขับช้าก็นิ่ม ยิ่งเร็วยิ่งแข็งขึ้นตามลำดับอย่างต่อเนื่อง
ค่า k ของสปริงแข็ง เหมาะสำหรับรถยนต์ที่ใช้ควา
ค่า k ของสปริงอ่อน เหมาะสำหรับรถยนต์ที่ใช้งาน
ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า หลายคนเมื่อซื้อรถยนต์ใหม่ก
ดังนั้น หากผู้ใช้รถมีความประสงค์ที
หรือใช้ช่วงล่างที่ผลิตมาเฉ
: 084-100-0068
: SHOP68 (WWW.SHOP68.NET)
LINE : DUKE68
: SHOP68 (WWW.SHOP68.NET)
LINE : DUKE68